หน้าแรก > สังคม

กทม. ค่า PM2.5 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกินมาตรฐาน เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 56 พื้นที่

วันที่ 20 ตุลาคม 2566 เวลา 15:12 น.


กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง สำนักสิ่งแวดล้อม  โดยศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร สรุปผลการตรวจวัด PM2.5 เวลา 08.00-10.00 น. (3 ชั่วโมงล่าสุด)
- ตรวจวัดได้ 23.4-59.3 มคก./ลบ.ม.
- ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 40.0 มคก./ลบ.ม. 
- ค่า PM2.5 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกินมาตรฐาน
และเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 56 พื้นที่ ได้แก่ 1.เขตสัมพันธวงศ์ 2.เขตพญาไท 3.เขตวังทองหลาง 4.เขตปทุมวัน 5.เขตบางรัก 6.เขตบางคอแหลม 7.เขตยานนาวา 8.เขตจตุจักร 9.เขตบางกะปิ 10.เขตลาดกระบัง 11.เขตธนบุรี 12.เขตคลองสาน 13.เขตบางกอกน้อย 14.เขตภาษีเจริญ 15.เขตบางเขน 16.เขตบางพลัด 17.เขตบางขุนเทียน 18.เขตสาทร 19.เขตคลองเตย 20.เขตบางซื่อ 21.เขตหลักสี่ 22.เขตบึงกุ่ม 23.เขตคลองสามวา 24.เขตห้วยขวาง 25.เขตสะพานสูง 26.เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 27.เขตจอมทอง 28.เขตดินแดง 29.เขตพระโขนง 30.เขตราษฎร์บูรณะ 31.เขตบางกอกใหญ่ 32.เขตตลิ่งชัน 33.เขตทวีวัฒนา 34.เขตดุสิต 35.เขตหนองแขม 36.เขตบางบอน 37.เขตทุ่งครุ 38.เขตวัฒนา 39.เขตบางนา 40.เขตคันนายาว 41.เขตมีนบุรี 42.เขตประเวศ 43.เขตราชเทวี 44.เขตสวนหลวง 45.สวนหลวง ร.9 เขตประเวศ 46.สวน 60 พรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เขตลาดกระบัง 47.อุทยานเบญจสิริ เขตคลองเตย 48.สวนธนบุรีรมย์ เขตทุ่งครุ 49.สวนเบญจกิติ เขตคลองเตย 50.สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา เขตบางกอกน้อย 51.สวนเสรีไทย เขตบึงกุ่ม 52.สวนทวีวนารมย์ เขตทวีวัฒนา 53.สวนสันติภาพ เขตราชเทวี 54.สวนหลวงพระราม 8 เขตบางพลัด 55.สวนพระนคร เขตลาดกระบัง 56.สวนกีฬารามอินทรา เขตบางเขน 

ข้อแนะนำสุขภาพ
- ระดับสีส้มเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ 
สำหรับบุคคลทั่วไป: ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น                              
ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ : ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง หากมีความจำเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพ เช่น ไอ หายใจลำบาก ตาอักเสบ แน่นหน้าอก ปวดศีรษะ หัวใจเต้นไม่เป็นปกติ คลื่นไส้ อ่อนเพลียควรปรึกษาแพทย์  

ข่าวยอดนิยม


ข่าวยอดนิยม